ยาแคปซูลพี-ซิทท์ มีส่วนผสมของสมุนไพรมากกว่า 40 ชนิด เช่น
1. ยอ หรือ ลูกยอ ภาษาอังกฤษที่ใช้กันทั่วไปคือ Great morinda, Tahitian noni, Indian mulberry, Beach mulberry หรือจะเรียกตามแหล่งที่ปลูกหรือภาษา เช่น Noni (จากฮาวาย), Meng kudu (มาเลเซีย), Ach (ฮินดู)
โดยมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Morinda citrifolia L. ส่วนชื่อท้องถิ่นอื่นๆในบ้านเราก็ได้แก่ ตาเสือ มะตาเสือ (ภาคเหนือ), ยอ แย่ใหญ่ (แม่ฮ่องสอน), ยอบ้าน (ภาคกลาง)
ลูกยอ จัดเป็นพืชพื้นเมืองในแถบโพลีนีเซียตอนใต้ (Polynesia) และแพร่กระจายไปยังประเทศอื่นๆ โดยมีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ ยอบ้านและยอป่า ที่เราพบเห็นกันบ่อยๆก็คือยอบ้าน ยอเป็นไม้ยืนต้น มีใบสีเขียว มีดอกออกเป็นช่อที่ซอกใบ ลักษณะของผลยาวรี
ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกจะเป็นสีขาวนวล มีเนื้อนุ่ม ในผลมีเมล็ดจำนวนมากมีสีน้ำตาล สำหรับรสชาติจะออกรสเผ็ด และมีกลิ่นแรง
ลูกยอ จัดเป็นยาสมุนไพรที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในเรื่องการช่วยอาการคลื่นไส้ อาเจียน และถูกบรรจุอยู่ในยาสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน โดยลูกยอสุกเป็นยาช่วยขับลมและช่วยย่อยอาหาร
ลูกยอ อุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุที่มีประโยชน์ต่อร่างกายหลากชนิด โดยลูกยอบดจะประกอบไปด้วย คาร์โบไฮเดรต เส้นใยอาหาร วิตามินเอ วิตามินซี วิตามินบี3 ธาตุแคลเซียม ธาตุเหล็ก ธาตุโพแทสเซียม ธาตุโซเดียม เป็นต้น
*** แต่สำหรับหญิงที่ตั้งครรภ์ไม่ควรรับประทานผลยอ เพราะจะมีผลโดยตรงต่อระบบการหมุนเวียนของเลือดในครรภ์ และอาจทำให้แท้งบุตรได้!***
2. มะระขี้นก มะระขี้นก จะมีรูปร่างคล้ายกระสวย ผิวของเปลือกจะขรุขระและมีปุ่มยื่นออกมา โดยผลอ่อนจะมีสีเขียว แต่ถ้าเป็นผลแก่จะออกสีเหลืองอมแดง ปลายของผลจะแตกเป็น 3 แฉก
มะระ ขี้นก จะมีรสขมมากกว่ามะระจีน จึงเป็นที่นิยมสำหรับผู้สูงอายุ ด้วยการนำผลอ่อนไปต้มหรือเผากินทั้งลูก แต่ถ้าเป็นผลแก่ก็ต้องนำมาคว้านเมล็ดออกเสียก่อน
***มะระที่สุกแล้วจะมีสารซาโปนิน (Saponin) ในปริมาณมาก การรับประทานอาจทำให้มีอาการอาเจียน ท้องร่วงได้
3. ปอบิด หรือ ปอกะบิด ภาษาอังกฤษ East Indian screw tree มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Helicteres isora L.
ยัง มีชื่อท้องถิ่นอื่นๆ อีก เช่น ปอทับ (เชียงใหม่), มะบิด (ภาคเหนือ), ข้าวจี่ (ลาว), ปอบิด เป็นต้น ซึ่งในบ้านเราสามารถพบปอกะบิดได้ทั่วไปทางภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตามป่าเบญจพรรณแล้ง ป่าเต็งรัง หรือที่รกร้างว่างเปล่า
มีงานศึกษาวิจัยที่สรุปว่า สารสกัดจากผลปอกะบิดสามารถช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดของหนูทดลอง
***แหล่ง อ้างอิง : วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, เว็บไซต์องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, เว็บไซต์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล***
วิธีรับประทาน
ครั้งละ 2-4 แคปซูล ก่อนอาหาร เช้า เย็น
ยาแคปซูลพี-ซิทท์ มีส่วนผสมของสมุนไพรมากกว่า 40 ชนิด เช่น
1. ยอ หรือ ลูกยอ ภาษาอังกฤษที่ใช้กันทั่วไปคือ Great morinda, Tahitian noni, Indian mulberry, Beach mulberry หรือจะเรียกตามแหล่งที่ปลูกหรือภาษา เช่น Noni (จากฮาวาย), Meng kudu (มาเลเซีย), Ach (ฮินดู)
โดยมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Morinda citrifolia L. ส่วนชื่อท้องถิ่นอื่นๆในบ้านเราก็ได้แก่ ตาเสือ มะตาเสือ (ภาคเหนือ), ยอ แย่ใหญ่ (แม่ฮ่องสอน), ยอบ้าน (ภาคกลาง)
ลูกยอ จัดเป็นพืชพื้นเมืองในแถบโพลีนีเซียตอนใต้ (Polynesia) และแพร่กระจายไปยังประเทศอื่นๆ โดยมีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ ยอบ้านและยอป่า ที่เราพบเห็นกันบ่อยๆก็คือยอบ้าน ยอเป็นไม้ยืนต้น มีใบสีเขียว มีดอกออกเป็นช่อที่ซอกใบ ลักษณะของผลยาวรี
ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกจะเป็นสีขาวนวล มีเนื้อนุ่ม ในผลมีเมล็ดจำนวนมากมีสีน้ำตาล สำหรับรสชาติจะออกรสเผ็ด และมีกลิ่นแรง
ลูกยอ จัดเป็นยาสมุนไพรที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในเรื่องการช่วยอาการคลื่นไส้ อาเจียน และถูกบรรจุอยู่ในยาสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน โดยลูกยอสุกเป็นยาช่วยขับลมและช่วยย่อยอาหาร
ลูกยอ อุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุที่มีประโยชน์ต่อร่างกายหลากชนิด โดยลูกยอบดจะประกอบไปด้วย คาร์โบไฮเดรต เส้นใยอาหาร วิตามินเอ วิตามินซี วิตามินบี3 ธาตุแคลเซียม ธาตุเหล็ก ธาตุโพแทสเซียม ธาตุโซเดียม เป็นต้น
*** แต่สำหรับหญิงที่ตั้งครรภ์ไม่ควรรับประทานผลยอ เพราะจะมีผลโดยตรงต่อระบบการหมุนเวียนของเลือดในครรภ์ และอาจทำให้แท้งบุตรได้!***
2. มะระขี้นก มะระขี้นก จะมีรูปร่างคล้ายกระสวย ผิวของเปลือกจะขรุขระและมีปุ่มยื่นออกมา โดยผลอ่อนจะมีสีเขียว แต่ถ้าเป็นผลแก่จะออกสีเหลืองอมแดง ปลายของผลจะแตกเป็น 3 แฉก
มะระ ขี้นก จะมีรสขมมากกว่ามะระจีน จึงเป็นที่นิยมสำหรับผู้สูงอายุ ด้วยการนำผลอ่อนไปต้มหรือเผากินทั้งลูก แต่ถ้าเป็นผลแก่ก็ต้องนำมาคว้านเมล็ดออกเสียก่อน
***มะระที่สุกแล้วจะมีสารซาโปนิน (Saponin) ในปริมาณมาก การรับประทานอาจทำให้มีอาการอาเจียน ท้องร่วงได้
3. ปอบิด หรือ ปอกะบิด ภาษาอังกฤษ East Indian screw tree มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Helicteres isora L.
ยัง มีชื่อท้องถิ่นอื่นๆ อีก เช่น ปอทับ (เชียงใหม่), มะบิด (ภาคเหนือ), ข้าวจี่ (ลาว), ปอบิด เป็นต้น ซึ่งในบ้านเราสามารถพบปอกะบิดได้ทั่วไปทางภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตามป่าเบญจพรรณแล้ง ป่าเต็งรัง หรือที่รกร้างว่างเปล่า
มีงานศึกษาวิจัยที่สรุปว่า สารสกัดจากผลปอกะบิดสามารถช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดของหนูทดลอง
***แหล่ง อ้างอิง : วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, เว็บไซต์องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, เว็บไซต์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล***
วิธีรับประทาน
ครั้งละ 2-4 แคปซูล ก่อนอาหาร เช้า เย็น